PSD

ผลการดำเนินงานประจำปี 2564 PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2022 เวลา 20:10 น.

ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ (Center of Excellence in Logistics)

วัตถุประสงค์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

  1. กำหนดยุทธศาสตร์ ทิศทาง และระยะเวลา การวิจัยเฉพาะทางด้านโลจิสติกส์ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 
  2. ประสานงานในการสร้างความเข้มแข็ง และเสริมสร้างศักยภาพด้านการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และบริการวิชาการโลจิสติกส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์จากการเกษตร 
  3. สร้างเสริมการเป็นศูนย์รวบรวมองค์ความรู้ทางด้านโลจิสติกส์อย่างครบวงจร

ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Publication :

Proceeding ระดับชาติ

  • ภานุพงศ์ ดิสกะประกาย, อมรินทร์ สนธิ และ ศศรส ใจจิตร์. 2563. การวิเคราะห์และออกแบบระบบการขายสินค้าประเภทเครื่องดื่ม: กรณีศึกษาร้านเกษตรอภิรมย์, น. 529-533. ใน รายงานการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ครั้งที่ 38. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ. 

  • นิรชา เงินพิสุทธิ์ศิลป, พรพิมล นพรัตน์นิติพงศ์, กีรติกา ดำจะโปะ และ ศศรส ใจจิตร์. 2563. การวิเคราะห์กลุ่มข้อมูลปัจจัยด้านทัศนคติที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพด้วยวิธีการวิเคราะห์กลุ่มแบบเป็นขั้นตอน, น. 354-357. ในรายงานการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ครั้งที่ 38. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ. 

วารสารระดับนานาชาติ, textbook

  • W.Boonphakdee and P. Charnsethiku.l Effective network flow approach for solving uncapacitated dynamic lot sizing problems with time -varying cost. International Journal of Advanced Science and Technology, 29, No. 7s, (2020), pp. 3778-3789. 
  • Kasikitwiwat, P and Jantarachot, K (2021) Comparative Study of Fatigue of AsphaltConcrete Mixed with AC 60-70 and Polymer Modified Asphalt Binder, Science and Technology Asia, Vol 26, No.3.

  • Woraya Neungmatcha and Atiwat Boonmee. 2021. Productivity Improvement of Motorcycle Headlight Assembly through Line Balancing Using Simulation Modeling: A Case Study. Current Applied Science and Technology, 21(1), 12-25.

  • Wittayapraphakorn, A., Jaijit, S., and Charnsethikul, P. 2021. Solving the One-dimensional Cutting Stock Problem under Discrete, Uncertain, Time-varying Demands using a Hybrid of Special-purpose Benders’ Decomposition and Column Generation. International Journal of Mathematics in Operational Research. 18(3): 360-383.

 วารสารระดับชาติ, บทความ และอื่นๆ

  • อณจ ชัยมณี และรัตนา ข้วดทอง. 2563. การวิเคราะห์เพื่อหาจำนวนคนงานที่เหมาะสมโดยใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการในกระบวนการผลิตกระจกลามิเนต. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 12(1)

  • ประภัสสร ตันติพันธ์วดี. 2563. ขั้นตอนการปรับปรุงการผลิตด้วยลีน ซิกส์ซิกม่า และลีนอัตโนมัติ.วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 15 ฉบับัที่ 12, 47-64.

  • ปริญญา พัฒนวสันต์พร. 2563. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนสำหรับการลงทุนเครื่องจักรเพื่อการออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุในสายการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ กรณีศึกษา บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน).วารสารวิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา. ปีที่ 32 ฉบับที่ 3, 97-112.

  • สุทธิดา เอี่ยมสำอางค์และ อธิวัฒน์ บุญมี. 2563. การจำลองสถานการณ์เพื่อปรับปรุงกระบวนการทางานของสายการผลิตสับปะรดบรรจุถุง: กรณีศึกษา. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ., 13(1), 114-126.

  • ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์ และ กฤษณะ จันทรโชติ, 2564. ระยะเวลาที่เหมาะสมของการบ่มตัวอย่างแอสฟัลต์ คอนกรีตในห้องปฏิบัติการจากการออกแบบโดยวิธีซูเปอร์เพฟ,วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

  • อธิวัฒน์ บุญมี และ วรญา เนื่องมัจฉา. 2564. การจัดตารางการใช้ห้องเรียนเพื่อลดภาระการทำความเย็นโดยประยุกต์ใช้วิธีการเชิงพันธุกรรม: กรณีศึกษา. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ, 44(1), 717-730.

Products :

  • โครงการ “โลจิสติกส์ย้อนกลับสำหรับการใช้มวลรวมหยาบรีไซเคิลเพื่อลดขยะจากงานก่อสร้าง”

หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์ 

  • โครงการ “โครงการต้นแบบการพัฒนาเกษตรกรชาวนาผู้ผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ด้วยระบบพี่เลี้ยงของหน่วยงานบริการเทคโนโลยีและนวัตกรรม : กลุ่มเกษตรกรที่ผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดสุรินทร์”

หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา 

  • โครงการ “การพัฒนาระบบจัดการกล้วยไม้สกุลหวายแบบแม่นยำสูง”

หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา 

โครงการวิจัยที่ดำเนินการ :

  • โครงการ “โลจิสติกส์ย้อนกลับสำหรับการใช้มวลรวมหยาบรีไซเคิลเพื่อลดขยะจากงานก่อสร้าง 

หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์

  • โครงการ “ต้นแบบการพัฒนาเกษตรกรชาวนาผู้ผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ด้วยระบบพี่เลี้ยงของหน่วยงานบริการเทคโนโลยีและนวัตกรรม : กลุ่มเกษตรกรที่ผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดสุรินทร์”

หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา

  • โครงการ “การพัฒนาระบบจัดการกล้วยไม้สกุลหวายแบบแม่นยำสูง”

หัวหน้าโครงการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา

โครงการบริการวิชาการที่กำลังดำเนินการ : 

  • สำนักประสานงานวิจัยชุดโครงการอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
การบริหารจัดการ การให้ทุนวิจัยด้านอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศด้านอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ การประสานเพื่อร่วมพัฒนาโจทย์วิจัยด้านโลจิสติกส์ การติดต่อประสานงานระหว่างนักวิจัย และ ผู้ทรงคุณวุฒิการเชื่อมโยงงานวิจัยสู่ผู้ใช้ประโยชน์จากหน่วยงานต่างๆ
  • ที่ปรึกษา และคณะทำงานด้านการจัดการโลจิสติกส์

โครงการ “ระบบการจัดการอาหารปลอดภัยภายในโรงเรียน และชุมชน ตำบลจอมพระ จังหวัดสุรินทร์”

  • คณะทำงานว่าด้วยความร่วมมือ (mou) ในการพัฒนาหน่วยบริการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรแม่นยำระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ และวิทยาลัยการอาชีพปราสาทกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โครงการวิจัยที่อยู่ระหว่างการทำสัญญารับทุน และการพัฒนาข้อเสนอเพื่อขอรับทุน : 

  • โครงการ “การวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่ด้วยวิธีเครื่องจักรการเรียนรู้และแบบจำลองสโตแคสติก กรณีศึกษา: การเพาะปลูกกระชายดำ”
แก้ไขล่าสุด ใน วันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2022 เวลา 20:43 น.
 
ศูนย์ที่น่าสนใจ
 

You are here: Home ศูนย์วิชาการสู่ความเป็นเลิศ ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ ผลการดำเนินงานประจำปี 2564