PSD

ผลการดำเนินงานประจำปี 2563 PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2021 เวลา 14:20 น.

ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย (Center of Excellence in Sugarcane)

Publication :

v Proceeding ระดับชาติ 

ปาริชาติ จำรัสศรี, ณิชานันท์ เกินอาษา และ ศิริพร ดอนเหนือ. 2563. การใช้เชื้อรา Metarhizium anisopliae ควบคุมแมลงพาหะโรคใบขาวอ้อยในสภาพไร่. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58. วันที่ 5-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563, กรุงเทพฯ. 

เกียรติศักดิ์ ศรีเมือง, อัจฉราพร เย็นทรวง และ คณิต มานะธุระ. 2563. คุณสมบัติการทอริแฟคชั่นร่วมระหว่างกากกาแฟและชานอ้อยเพื่อปรับปรุงคุณภาพของชีวมวล. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม. 

ณัฐพงศ์ ปิ่นสุวรรณ และ มารุต โคตรพันธ์. 2563. บริหารความเสี่ยงในระบบหีบสกัดอ้อย โดยใช้ 4Ms. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม. 

ธเนศ สัมฤทธิ์นรพงศ์ และ จุติเทพ วงษ์เพ็ชร์. 2563. การปรับแก้สัมประสิทธิ์การใช้น้ำของอ้อยจากการแปลภาพถ่ายอาวเทียมโดย IrriSAT. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม. 

ลลิตา ออมสิน, รณฤทธิ์ ฤทธิรณ และ สุรีพร ณรงค์วงศ์วัฒนา. 2562. การสร้างสมการเทียบมาตรฐานวิเคราะห์ค่า CCS อ้อยในไร่ด้วยเครื่องวิเคราะห์คุณภาพอ้อย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม.

v วารสารระดับนานาชาติ, บทความ

Athipanyakukl, T., Choonhawong K. and Potchanasin, C. 2020. The challenge for Thai sugarcane farmers. Food and Fertilizer Technology Center for the Asian and Pacific Region. http://ap.fftc.agnet.org/ap_db.php?id=1101&print=1. Access on 25 April 2020. 

Prasitsom C., Jubsab, N., Klomsa-ard, P., Sriroth, K. and Kaewsompong, S. 2019. Selection of SSR Markers for drought resistant sugarcane in Thailand. International Journal of Agricultural Technology. 15(6): 997-1010. 

Pitipukdee, S., Attavanich, W. and Bejranonda, S. 2020. Climate Change Impacts on Sugarcane Production in Thailand. Atmosphere. 11(4), 408, https://doi.org/10.3390/atmos11040408

v วารสารระดับชาติ และอื่นๆ

ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช, ศุภกิจ สายสุนทร, สิทธิพร มณีวรรณ และ นิพนธ์ ภูวเกียรติกำจร. การพัฒนาเครื่องปลูกอ้อยแบบใหม่สำหรับวัสดุปลูกชนิดชิ้นตาอ้อย. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 30(1): 4-15. 

สุวรา วุฒิอำพล, ชลิดา เล็กสมบูรณ์ และ เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน. 2562. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียที่ส่งเสริมการเจริญของพืชในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อสาเหตุโรครากเน่าในอ้อย. วิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ 2(3): 58-63. 

กุมุท สังขศิลา และปุญญิศา ตระกูลยิ่งเจริญ. 2563. การใช้ระบบการประมวลแบบก้อนเมฆเพื่อเฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรูอ้อยของพื้นที่ส่งเสริมโรงงานน้ำตาล. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 3(2): 5-15. 

อนุรักษ์ อรัญญนาค, นงลักษณ์ เทียนเสรี และคัทลียา ฉัตร์เที่ยง. 2563. การปลูกและการไว้ตอของอ้อยที่ปลูกในจังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี และราชบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 3(2): 26-33. 

ธนัฐนันท์ เต็งประเสริฐ, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, กนกกร สินมา, วิยงค์ กังวานศุภมงคล, เกวลิน ศรีจันทร์, อัญธิชา พรมเมืองคุก, สิรินภา ช่วงโอภาส, สุชาดา กรุณา, ศิริสุดา บุตรเพชร, ชาลินี คงสุด, ธรรมธวัช แสงงาม และธีรยุทธ คล้ำชื่น. 2563. ผลของปุ๋ยเคมีเคลือบด้วยวัสดุนาโนที่ควบคุมการปลดปล่อยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 3(2): 47-62. 

สายพิณ ดีเยี่ยม และเรวัต เลิศฤทัยโยธิน. 2563. การตรวจสอบศักยภาพของอ้อยพันธุ์กำแพงแสนต่อการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในอ้อย. วาสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 9(2): 1-13. 

ฤทัยรัตน์ ห้อยสน, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, สิรินภา ช่วงโอภาส, วิยงค์ กังวานศุภมงคล,   เกวลิน ศรีจันทร์, อัญธิชา พรมเมืองคุก, สุชาดา กรุณา, ศิริสุดา บุตรเพชร, ชาลินี คงสุด, ธรรมธวัช แสงงาม และธีรยุทธ คล้ำชื่น. 2563. ผลของปุ๋ยเคมีเคลือบด้วยวัสดุนาโนที่ควบคุมการปลดปล่อยธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยตอปีที่ 1 ที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน. วาสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 9(2): 14-31. 

ทินกร ปัทเมฆ, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, จุฑามาศ ร่มแก้ว, เกวลิน ศรีจันทร์, อัญธิชา พรมเมืองคุก, สุชาดา กรุณา, ศิริสุดา บุตรเพชร, ชาลินี คงสุด, ธรรมธวัช แสงงาม และธีรยุทธ คล้ำชื่น. 2563. ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากผลพลอยได้ของเครื่องกำจัดเศษขยะต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน. วาสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 9(2): 32-46.

โครงการวิจัยที่ดำเนินการ :

v โครงการ “การปลูกเปรียบเทียบพันธุ์อ้อยทนแล้งบางพันธุ์ในพื้นที่ดินลูกรัง” หัวหน้าโครงการ : อาจารย์ศุภาวรรณ ประพันธ์ แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย งบประมาณ 180,000 บาท

v โครงการ “การผลิตเชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae (Metchnikoff) Sorokin เพื่อควบคุมจักจั่นอ้อย Platypleura cespiticola Boulard โดยชีววิธีในแปลงอ้อย” หัวหน้าโครงการ : ดร. ณิชานันท์ เกินอาษา แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย งบประมาณ 200,000 บาท

การจัดประชุมวิชาการ/ร่วมจัดนิทรรศการ/การจัดฝึกอบรม/อื่นๆ :

v จัดอบรมเชิงวิชาการในหัวข้อ “การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการจัดการอ้อยแปลงใหญ่” ณ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม เมื่อวันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2562

1-63

v เข้าศึกษาดูงาน ณ บริษัท เค.ซี. เกษตรกรรม จำกัด อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563

2-63

v ผศ.ดร.ทิวา พาโคกทม ได้ร่วมประชุมให้คำปรึกษาแก่ กองพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และบริษัท พาวเวอร์ อโกรเทค (ประเทศไทย) จำกัด เรื่องแนวทางการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ โดรน การเกษตร และหารือแนวทางการทำวิจัยที่ใช้อากาศยานไร้คนขับ หรือโดรน ในภาคการเกษตร โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ปลูกอ้อย นอกจากนั้น รศ.ดร.สนธิชัย จันทร์ เปรม และ ผศ.ดร.วันรัฐ อับดุลลากาซิม คณะกรรมการประจำศูนย์ฯ ได้ร่วมเป็นวิทยากรในการอบรม เรื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการโดรนเกษตร ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมสร้างการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยการใช้เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ ซึ่งจัดขึ้นโดยกรมพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม ร่วมกับบริษัทพาวเวอร์ อโกรเทค (ประเทศไทย) จำกัด ณ ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ 21-22 กันยายน พ.ศ. 2563

3-63 

4-63 5-63

 6-63

แก้ไขล่าสุด ใน วันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2021 เวลา 14:34 น.
 
ศูนย์ที่น่าสนใจ
 

You are here: Home ศูนย์วิชาการสู่ความเป็นเลิศ ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย ผลการดำเนินงานประจำปี 2563