PSD

ผลการดำเนินงานประจำปี 2563 รอบ 6 เดือนแรก PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
วันอังคารที่ 21 กรกฏาคม 2020 เวลา 11:57 น.

ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย 

อ้อย 4 Publication :

Proceeding ระดับชาติ

ปาริชาติ จำรัสศรี, ณิชานันท์ เกินอาษา และ ศิริพร ดอนเหนือ. 2563. การใช้เชื้อรา Metarhizium anisopliae ควบคุมแมลงพาหะโรคใบขาวอ้อยในสภาพไร่. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58. วันที่ 5-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563, กรุงเทพฯ. 

เกียรติศักดิ์ ศรีเมือง, อัจฉราพร เย็นทรวง และ คณิต มานะธุระ. 2563. คุณสมบัติการทอริแฟคชั่นร่วมระหว่างกากกาแฟและชานอ้อยเพื่อปรับปรุงคุณภาพของชีวมวล. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม.

ณัฐพงศ์ ปิ่นสุวรรณ และ มารุต โคตรพันธ์. 2563. บริหารความเสี่ยงในระบบหีบสกัดอ้อย โดยใช้ 4Ms. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม.

ธเนศ สัมฤทธิ์นรพงศ์ และ จุติเทพ วงษ์เพ็ชร์. 2563. การปรับแก้สัมประสิทธิ์การใช้น้ำของอ้อยจากการแปลภาพถ่ายอาวเทียมโดย IrriSAT. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม.

ลลิตา ออมสิน, รณฤทธิ์ ฤทธิรณ และ สุรีพร ณรงค์วงศ์วัฒนา. 2562. การสร้างสมการเทียบมาตรฐานวิเคราะห์ค่า CCS อ้อยในไร่ด้วยเครื่องวิเคราะห์คุณภาพอ้อย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วันที่ 3-4 ธันวาคม 2562, นครปฐม.

วารสารระดับนานาชาติ, textbook

Athipanyakukl, T., Choonhawong K. and Potchanasin, C. 2020. The challenge for Thai sugarcane farmers. Food and Fertilizer Technology Center for the Asian and Pacific Region. http://ap.fftc.agnet.org/ap_db.php?id=1101&print=1. Access on 25 April 2020.

Prasitsom C., Jubsab, N., Klomsa-ard, P., Sriroth, K. and Kaewsompong, S. 2019. Selection of SSR Markers for drought resistant sugarcane in Thailand. International Journal of Agricultural Technology. 15(6): 997-1010.

วารสารระดับชาติ, บทความ และอื่นๆ

ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช, ศุภกิจ สายสุนทร, สิทธิพร มณีวรรณ และ นิพนธ์ ภูวเกียรติกำจร. การพัฒนาเครื่องปลูกอ้อยแบบใหม่สำหรับวัสดุปลูกชนิดชิ้นตาอ้อย. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 30(1): 4-15.

สุวรา วุฒิอำพล, ชลิดา เล็กสมบูรณ์ และ เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน. 2562. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียที่ส่งเสริมการเจริญของพืชในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อสาเหตุโรครากเน่าในอ้อย. วิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ 2(3): 58-63.

อ้อย 4 Products : ไม่มี

อ้อย 4 Patent : ไม่มี

อ้อย 4 โครงการวิจัยที่ดำเนินการ :

  • โครงการ “การปลูกเปรียบเทียบพันธุ์อ้อยทนแล้งบางพันธุ์ในพื้นที่ดินลูกรัง” หัวหน้าโครงการ : อาจารย์ศุภาวรรณ ประพันธ์ แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย งบประมาณ 180,000 บาท
  • โครงการ “การผลิตเชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae (Metchnikoff) Sorokin เพื่อควบคุมจักจั่นอ้อยPlatypleura cespiticola Boulard โดยชีววิธีในแปลงอ้อย” หัวหน้าโครงการ : ดร.ณิชานันท์ เกินอาษา แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย งบประมาณ 200,000 บาท

อ้อย 4 การจัดประชุม/ลงพื้นที่ศึกษาดูงาน/ร่วมจัดนิทรรศการ/การจัดฝึกอบรม :

  • จัดอบรมเชิงวิชาการในหัวข้อ “การใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการจัดการอ้อยแปลงใหญ่” โดยในงานมีกลุ่มเกษตรกรชาวไร่อ้อยและเจ้าหน้าที่โรงงานน้ำตาลเข้าร่วมจำนวน 80 ท่าน และได้รับเกียรติจาก รศ.นสพ.ดร. อนุชัย ภิญโญภูมินทร์ รองอธิการบดีวิทยาเขตกำแพงแสน เป็นประธานเปิดงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม เมื่อวันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2562
1.63
  • ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย นำโดยผู้อำนวยการศูนย์ฯ ผศ.ดร.ทิวา พาโคกทม พร้อมด้วยที่ปรึกษา รศ.ดร.สนธิชัย จันทร์เปรม กรรมการศูนย์ฯ ดร.อนุรักษ์ อรัญญนาค ร่วมกับภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน ร่วมศึกษาดูงาน ณ โรงงานน้ำตาลมิตรผล อ. ภูเขียว จ. ชัยภูมิ เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563
2.63
  • ผศ.ดร. ทิวา พาโคกทม ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย พร้อมด้วย รศ.ดร. สนธิชัย จันทร์เปรม ดร. อนุรักษ์ อรัญญนาค กรรมการประจำศูนย์ฯ ร่วมกับภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน เข้าศึกษาดูงาน เพื่อสร้างความร่วมมือและศึกษาแนวทางสำหรับการศึกษาดูงานและสถานที่ฝึกงานของบุคคลากร นักวิจัย และนิสิต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในด้านการใช้เครื่องจักรกลในไร่อ้อย การจัดการระบบปลูกในแปลงอ้อย การกำหนดการให้น้ำที่เหมาะสมในแปลงอ้อย พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้รวมถึงแนวคิดการพัฒนาพันธุ์อ้อยที่เหมาะสม และการต่อยอดเพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือใช้จากโรงงานน้ำตาลเพื่อนำมาปรับใช้ในอนาคต ณ บริษัท เค.ซี. เกษตรกรรม จำกัด อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563
3.63
แก้ไขล่าสุด ใน วันอังคารที่ 21 กรกฏาคม 2020 เวลา 12:03 น.
 
ศูนย์ที่น่าสนใจ
 

You are here: Home ศูนย์วิชาการสู่ความเป็นเลิศ ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านอ้อย ผลการดำเนินงานประจำปี 2563 รอบ 6 เดือนแรก