PSD

ผลการดำเนินงานประจำปี 2561 PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2019 เวลา 15:03 น.

ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไผ่ (Center of Excellence in Bamboos)

Publication :

วารสารระดับนานาชาติ, textbook

 Korawit Chitbanyong, Sasiprapa Pitiphatharaworachot, Sawitree Pisutpiched, Somwang Khantayanuwong and Buapan Puangsin. 2018. Characterization of Bamboo Nanocellulose Prepared by TEMPO-mediated Oxidation. BioResources 13 (2), 4440-4454

-  Sarawood Sungkaew and Atchara Teerawatananon. 2018. Survey of flood-tolerant bamboo in 2011 flooding in Thailand. Agriculture and Natural Resources 51 (2017), 499-503

-  Sarawood Sungkaew Trevor R. Hodkinson, Nianhe and Atchara Teerawatananon. 2018. Chimonocalamus auriculatus, one more new temperate woody bamboo species of the genus (Poaceae: Bambusoideae: Arundinarieae) described from Thailand. Phytotaxa 357 (1): 066-070

-  Weilim Gom, Sarawood Sungkaew, Atchara Teerawatananon, Dieter Ohrnberger, Nianhe Xia, Kok Sim Chan, Yi Xian and Khoon Meng Wong. 2018. The hybrid origin of Phai Liang, a Bamboo of recent introduction into horticulture in Southeast Asia, and a new nothogenus, xThyrsocalamus (Bambuuseae: Bambusinae). Phytotaxa 362 (3): 271-281

Products :

-

Patent :

-

โครงการวิจัยที่ดำเนินการ :

1.  ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยจากไผ่ตงและซางนวล

2.  สมบัติทางกายภาพและเชิงกลของลำไผ่ (ไผ่ตงและไผ่ซางนวล)

3.  อิทธิพลของไฟป่าต่อการตั้งตัวของไผ่ภายหลังการออกดอกตายขุย

4.  โครงสร้างและพลวัตของสังคมพืชป่าเบญจพรรณบนเขาหินปูนหลังจากการตายขุยของไผ่มันหมู ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

5.  การใช้ประโยชน์และการประเมินมูลค่าโจด (Vietnamosasa ciliata) ในป่าเขาอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์

6.  การศึกษาคุณสมบัติการดูดซับของถ่านไม้ไผ่คุณภาพสูงจากเตาเผาถ่านที่ดัดแปลงจากถังน้ำมัน 200 ลิตรรูปแบบใหม่

7.  อัตราการเติบโตของลำต้นเหนือดินและใต้ดินของไผ่ 3 ชนิด ที่เลี้ยงในสารละลายเกลือโซเดียมคลอไรด์

8.  ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยจากไผ่บางชนิด

9.  การศึกษาคุณสมบัติพอลิเมอร์ชีวภาพที่ผลิตจากแป้งมันสำปะหลังเสริมแรงด้วยนาโนเซลลูโลสจากไผ่ตง

10.  ความหลากหลายและความผันแปรตามฤดูกาลของชนิดไม้พื้นล่างในป่าเบญจพรรณบนเขาหินปูน ที่มีไผ่มันหมูเป็นไม้เด่น บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าลุ่มน้ำปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

11.  กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบใบและลำของไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) และไผ่รวกดำ (Thyrsostachys oliveri)

12.  การศึกษาความแตกต่างทางดีเอ็นเอของไผ่รวกดำ(Thyrsostachys oliveri) และไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) โดยใช้เครื่องหมายไอเอสเอสอาร์

13.  องค์ประกอบทางเคมีของไผ่หกชนิดในประเทศไทย

14.  พลวัตของการตั้งกอและสร้างลำของไผ่ไร่ภายหลังการตายขุย

15.  ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจากการใช้สารสกัดจากใบไผ่

16.  สมบัติกายภาพและเชิงกลของลำไผ่ 4 ชนิด (ไผ่กำยาน ไผ่รวก ไผ่ลำมะลอก และไผ่เลี้ยง)


การจัดประชุมวิชาการ/ร่วมจัดนิทรรศการ/การจัดฝึกอบรม :

1.  ร่วมจัดการประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย ครั้งที่ ๗ (Thai Forest Ecological Research Network, T-FERN #7) ในหัวข้อเรื่อง “องค์ความรู้นิเวศวิทยาป่าไม้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 18 - 19 มกราคม พ.ศ. 2561

2.  ร่วมจัดการเสวนา “ไผ่...เส้นทางอุตสาหกรรมสู่ตลาดโลก ตามโครงการยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาเขาหัวโล้นจังหวัดน่าน” ณ โรงแรมดิอิมเพลส ต.ดู่ใต้ อ.เมืองน่าน จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2561

1-61

3.  การพัฒนาเว็บไซต์ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไผ่

 ดำเนินการอัพเดทข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมการประชุมวิชาการด้านไผ่ที่น่าสนใจและข้อมูลของนักวิจัยภายใต้ศูนย์ฯ(http://www.bambooku.psd.ku.ac.th)

 2-61 3-61


แก้ไขล่าสุด ใน วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ 2019 เวลา 15:15 น.
 
ศูนย์ที่น่าสนใจ
 

You are here: Home ศูนย์วิชาการสู่ความเป็นเลิศ ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านไผ่ ผลการดำเนินงานประจำปี 2561